1 |
|
ก. ไข่ขาว , น้ำตาลทราย , เอทิลแอซิเตต |
|
ไข่ขาวเป็นโปรตีน
น้ำตาลทรายหรือซูโครสเป็นนอนรีดิวซิงชูการ์
เอทิลแอซิเตตคือเอสเทอร์ เมื่อถูกไฮโดรไลซิสจะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารประเภทคาร์บอกซิลิก ซึ่งเป็นน้ำส้มสายชูในการทดลองนี้ |
NaOH กับ CuSO4 หรือไบยูเร็ตใช้ทดสอบโปรตีน
หยดเบเนดิกและให้ความร้อนใช้ทดสอบน้ำตาลนอนรีดิวซ์
Esterทำปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส และกรดได้สารประเภทครร์บอกซิลิก ในที่นี้เป็นสารมีกลิ่นคล้ายน้ำส้มสายชู |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
ข. น้ำมันมะกอกเท่านั้นที่มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว จึงทำปฏิกิริยาฟอกจางสีโบรมีนได้ |
|
กรดไขมันไม่อิ่มตัว ได้แก่ ไลโนเลอิก และโอเลอิก ไขมันหรือน้ำมันทุกชนิดมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ทุกตัว |
กรดไขมันอิ่มตัว ได้แก่ สเตียริก ปาล์มมิติก และไมริสติก
กรดไขมันไม่อิ่มตัว ได้แก่ ไลโนเลอิก และโอเลอิก |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
ข้อ จ. |
|
X มีสารประเภทกรดไขมันอิ่มตัวมาก
Y มีสารประเภทกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก |
สารที่มีไขมันอิ่มตัวมาก เมื่ออยู่ในอุณหภูมิต่ำจะเป็นไขและเหม็นหืนยากจุดหลอมเหลวสูง
สารที่มีไขมันไม่อิ่มตัวมาก เมื่ออยู่ในอุณหภูมิต่ำจะเป็นไขได้ยาก เหม็นหืนง่ายจุดหลอมเหลวต่ำ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
ข้อ ง. |
|
W และX เป็นกรดไขมันอิ่มตัว ไม่ฟอกสีไอโอดีน เป็นน้ำมันสัตว์
Y และZ เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว ฟอกสีไอโอดีน เป็นน้ำมันพืช |
-การทดสอบประเภทกรดไขมันด้วยไอโอดีน
กรดไขมันอิ่มตัว ไม่ฟอกสีไอโอดีน
กรดไขมันไม่อิ่มตัว ฟอกสีไอโอดีน
-ไขมันพืชมีกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากกว่าไขมันสัตว์
-น้ำมันสัตว์ทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือดได้ง่าย
-น้ำมันพืชเหมาะใช้ประกอบอาหารด้วยไฟอ่อนๆ
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
|
|
|
A B C คือ กลีเซอรอล กรดไขมัน ไขมันหรือน้ำมัน |
ปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันเพื่อสร้างไขมันหรือน้ำมัน มีสมการดังนี้
กลีเซอรอล + กรดไขมัน เร่งด้วยกรด ได้ผลิตภัณฑ์เป็น ไขมันหรือน้ำมัน + น้ำ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
|
จ.โปรตีนก้อนกลมและโปรตีนเส้นใยเป็นโปรตีนที่มีโครงสร้างแบบตติยภูมิ |
|
โครงสร้างโปรตีนตติยภูมิ การรวมตัวกันอาจเป็นก้อนกลมหรือเส้นใยได้ |
โครงสร้างโปรตีนตติยภูมิ การรวมตัวกันอาจเป็นก้อนกลมหรือเส้นใยได้ เนื่องจากเกิดการบิดม้วนตัวโครงสร้างเกิดเป็นรูปร่าง |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
|
|
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
|
ง. เอนไซม์ช่วยให้เจลาตินแข็งตัวเร็วขึ้นในpHที่เหมาะสม |
|
เนื่องจากเวลาที่ใช้ในการทำให้เจลาตินแข็งตัวไม่ต่อเนื่องกัน(ไม่แปรผันตรง) แสดงว่าเอนไซม์ทำงานในpHที่เหมาะสม |
เอนไซม์ส่วนใหญ่เป็นโปรตีนแต่ไม่ใช่ทั้งหมด และเอนไซม์จะทำงานได้ดีในที่ที่มีpHที่เหมาะสม |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
|
ง. 2 และ 3 |
|
อินซูลินเป็นฮอร์โมนที่ช่วยลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดโดยเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจน
คนที่เป็นเบาหวานควรลดอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล |
อินซูลินเป็นฮอร์โมนที่ช่วยลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดโดยเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจนไปเก็บสะสมที่ตับและกล้ามเนื้อ
คนที่เป็นเบาหวานทั้งสองประเภทควรลดอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล เนื่องจากฮอโมนอินซูลินไม่มี หรือมีน้อยทำให้ประสิทธิภาพในการลดระดับน้ำตาลในกระแสเลือดต่ำ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
|
จ. คาร์โบไฮเดรต |
|
มีโมโนเมอร์เป็นน้ำตาลฟรุกโตสและกลูโคส |
โครงสร้างเป็นโพลีแซคคาไรด์ ซึ่งเป็นสารประเภทคาร์โบไฮเดรต |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
|
|
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
|
|
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
|
จ. กรดอะมิโน |
|
กรดอะมิโนเป็นหมู่ฟังก์ชันamide ซึ่งแตกตัวได้เป็นcarboxylic และ amine กรดกับเบส |
บัฟเฟอร์เป็นสารที่ช่วยรักษาค่าpH ซึ่งกรดอะมิโนสามารถ(amide)แตกตัวได้เป็น carboxylicและamine ซึ่งเป็นกรดและเบสตามลำดับทำให้สามารถรักษาค่าpHได้ดี |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
|
ก. W, X และ Y |
|
W X Y เป็นรีดิวซิ่งชูการ์
Zคือน้ำตาลซูโครสซึ่งเป็นนอนรีดิวซิ่งชูการ์ |
การทดสอบด้วยเบเนดิกที่ไม่ผ่านความร้อนเป็นการทดสอบน้ำตาลรีดิวซ์ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
|
ค. ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว กรดไขมันไม่อิ่มตัว กลูโคส |
|
W เป็นไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ไม่เกิดปฏิกิริยาอะไรเลย
X และy เป็นสารไม่อิ่มตัวเพราะฟอกสีkmno4ได้
Z เป็นรีดิวซิ่งชูการ์เพราะทำปฏิกิริยากับเบเนดิก |
การฟอกสีKMnO4 คือปฏิกิริยาการเติม หมายความว่าต้องมีพันธะคู่หรือพันธะสามอยู่ในโครงสร้าง
การทดสอบเบเนดิก คือการทดสอบน้ำตาลรีดิวซ์
สารที่ไม่ทำปฏิกิริยาแสดงส่าเป็นสารอิ่มตัว ไม่มีอะไรเป็นสมบัติพิเศษ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
|
ง. นมถั่วเหลือง กลูโคส น้ำตาลทราย |
|
นมถั่วเหลือง เป็นโปรตีน ทำปฏิกิริยากับไบยูเร็ต
กลูโคสเป็นรีดิวซิงชูการ์ ทำปฏิกิริยากับเบเนดิกโดยไม่ต้องใช้ความร้อน
น้ำตาลทรายไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ นอนรีดิวซ์จึงไม่ทำปฏิกิริยากับไอโอดีน |
ไบยูเร็ต ใช้ทดสอบโปรตีน
ทดสอบเบเนดิกโดยไม่ให้ความร้อน ทดสอบน้ำตาลรีดิวซ์
ไอโอดีนทดสอบคาร์โบไฮเดรต |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
|
|
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
|
|
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
|
|
|
X hydrolysis
Y ปฏิกิริยาควบแน่น
Z ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสของไขมันหรือน้ำมัน |
Hydrolysis ใช้น้ำในการย่อยสลายโมเลกุลใหญ่ให้มีขนาดเล็กลง
ปฏิกิริยาควบแน่น โมเลกุลเล็กรวมได้เป็นโมเลกุลใหญ่และเกิดการควบแน่นได้น้ำออกมาด้วย |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
|
ค. มีข้อถูก 3 ข้อ |
|
ฮีโมลกลูบินเป็นโปรตีนช่วยลำเลียงแก๊ส
ฮิมมูโนกลูบิน ช่วยเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน
ไตรกลีเซอร์เป็นไขมัน |
ฮีโมลกลูบินเป็นโปรตีนช่วยลำเลียงแก๊ส
ฮิมมูโนกลูบิน ช่วยเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน
ไตรกลีเซอร์เป็นไขมันใ้ละลายวิตามิน a d e k ได้ |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
21 |
|
|
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
22 |
ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับอะไมโลสและอะไมเลส
|
ก. อะไมโลส จัดเป็นพอลิแซ็กคาไรด์แบบโซ่ตรง ที่สามารละลายน้ำได้ |
|
อะไมโลสเป็นโซ่ตรง อะไมเลสเป็นเอนไซม์ |
สารประเภทไฮโดรคาร์บอนที่เป็นโซ่ตรง ไม่มีกิ่งละลายน้ำได้ไม่ดี |
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
23 |
|
|
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
24 |
|
|
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
25 |
|
|
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|