1 |
|
ค. ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเรียกว่าสปอนิฟอเคชั่น |
|
เพราะ x ไม่ละลายน้ำ และละลายได้ดีในตัวทำละลายอินทรีย์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติของสารประกอบเอสเทอร์(ไขมันหรือน้ำมัน) เมื่อทำกับเบสจึงได้ตามปฏิกิริยาด้านบน
|
เป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน้ำมันด้วยเบส เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากไขมันและน้ำมันกับด่าง เกิดเกลือของกรดไขมัน (RCOO- Na+) ซึ่งก็คือ สบู่ กับกลีเซอรอล
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
|
|
จะได้พันธะเปปไทด์แบบ primary structure เพราะมีกรดอะมิโน 2 ชนิด จึงจะเกิด พันธะเปปไทด์อยู่ 1 พันธะ
|
primary structure เป็นโครงสร้างหลักพื้นฐานของโปรตีน เกิดจากการเชื่อมต่อกันของกรดแอมิโน (amino acid) เป็นสายยาว ระหว่างกรดแอมิโนเชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ (peptide)
จำนวนพันธะเปปไทด์ที่เกิดขึ้น = จำนวนกรดอะมิโน -1
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
ข้อ ง. |
|
A เป็นสีม่วงเข้มเพราะกรดกลูตามิกเป็นกรดอะมิโน
แป้งมันฝรั่ง เมื่อนำไปไฮโดรไลซ์แล้วจะมีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบ
ซูโครสจะไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารละลายไอโอดีน
|
CuSO4 + NaOH เป็นการทดสอบสารประเภทโปรตีน (ไบยูเรต)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
|
|
จำนวนพันธะเพปไทด์ = 7 , จำนวนน้ำที่ใช้ =7 ,จำนวนกรดอะมิโน =8 , จำนวนชนิดกรดอะมิโน = 6, 5.อัตราส่วนคือ
เป็นประเภท
|
จำนวนพันธะเพปไทด์ = จำนวนน้ำที่ใช้ในการสลาย
จำนวนกรดอะมิโน = จำนวนพันธะเพปไทด์+1
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
|
|
|
2 ไอโซเมอร์ ตามกรดอะมิโนที่มีอัตราส่วนเท่ากัน คือ
ลิวซีน - อาร์จีนีน
อะลานีน - ฮิสทีดีน
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
|
ข้อ จ. |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
|
ข. ธนนท์แช่เนื้อไว้ในตู้เย็นเพื่อเตรียมทำอาหาร |
|
เพราะการแช่ไว้ไม่ได้ทำให้โปรตีนเนื้อสัตว์เกิดการแปรสภาพ เหมือนกับข้ออื่นๆที่มีปัจจัยในการทำลายโปรตีน เช่น ความเป็นกรด ความร้อน การเผาไหม้ สารพิษ
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
|
ก. 1 เท่านั้น |
|
เพราะที่อุณหภูมินี้ความเข้มของสีที่เกิดขึ้นจะมีการเรียงระดับกันที่อาจเกิดการแปลงสภาพของเอนไซม์ได้ถูกต้อง
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
|
ค. กลูโคส,นํ้าตาลทราย |
|
1.น้ำตาลทรายหรือซูโครสไม่ทำปฏิกิริยากับไอโอดีน
2.ไอโอดีนใช้ทดสอบแป้งไม่ใช่น้ำตาล
และเมื่อน้ำตาลทราย(ซูโครส)ถูกไฮโดรไลซ์แล้วจะทำปฏิกิริยากับไอโอดีนได้
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
|
|
|
14 เท่า
เพราะน้ำตาลทราย(ซูโครส)ถูกไฮโดรไลซ์แล้วจะทำปฏิกิริยากับไอโอดีนได้จึงทำให้เกิดตะกอนได้มากขึ้น
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
|
|
|
9 หน่วย ปลายสายด้านคาร์บอกซิลิกเป็น Arg
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
|
ข้อ ง. |
|
เพราะ RNA ทำหน้าที่สร้างโปรตีนภายในเซลล์
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
|
ข้อ ง. |
|
ในโครงสร้างพบอะตอม C สร้าง พันธะคู่กับ O 2 พันธะ และที่ตำแหน่งนั้นจะมีหมู่ อะมิโนของอีกกรดอะมิโนมาต่อด้วย โดยที่ COOH จะมี OH หายไป ส่วน NH2 อะตอม H จะหายไป 1 ตัว
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
|
ข้อ ง. |
|
เพราะผงซักฟอกทั้งสองชนิดมีไอออนบวก
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
|
|
|
กรดไขมัน และ แอลกอฮอลล์
|
เนื่องจากไขเป็นสารประกอบเอสเทอร์ ที่เกิดจากกรดไขมันทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์โมเลกุลใหญ่ (C ตั้งแต่ 24-36 อะตอม)
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
|
|
|
ไม่ช่วยให้ไขมันในเลือดตกตะกอน ช่วยให้เกิดการเผาผลาญไขมัน
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
|
ข้อ ก. 2 แบบ |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
|
ข้อ ค. 3 ชนิด |
|
เพราะใช้กรดอะมิโน 3 ชนิด
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
นักกำหนดอาหารได้มีการจัดอาหารกลางวันสำหรับผู้ป่วยรายหนึ่ง โดยอาหารประกอบไปด้วย ข้าว กะหล่ำปีผัดน้ำมัน และแกงจืดเต้าหู้หมูสับ อาหารมื้อนี้ ผู้ป่วยจะได้รับสารชีวโมเลกุลประเภทให้พลังงานกี่ชนิด อะไรบ้าง
|
ค. 3 ชนิด ได้แก่ ไขมัน คาร์โบไฮเดต และโปรตีน |
|
ข้าว(คาร์โบไฮเดรต)
ผัดด้วยน้ำมัน(ไขมัน)
เต้าหู้ หมูสับ (โปรตีน)
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
ข้อใดไม่ถูกต้อง
|
ข. ไดแซคคาไรด์ที่ได้จากการย่อยสลายเซลลูโลสและอะไมเลสมีโครงสร้างเหมือนกัน |
|
กลูโคสที่พบในเซลลูโลสเป็นชนิด เบต้า แต่กลูโคสชนิดที่พบในอะไมโลสเป็นชนิด แอลฟา
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|