1 |
|
จ. คาร์โบไฮเดรต |
|
เพราะ มีโมโนเมอร์เป็นน้ำตาล ต่อกันเป็นสายยาว จึงสรุปได้ว่าเป็น คาร์โบไฮเดรต
|
อินูลิน (Inulin) เป็นโพลีแซคคาไรค์ชนิดหนึ่งในกลุ่มฟรุกแตน (Fructan) ประกอบด้วยน้ำตาลฟรุกโตสที่เชื่อมต่อกันเป็นสายยาว จำนวน 2 ถึง 60 หน่วย
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
2 |
|
ง. 2 และ 3 |
|
ข้อ 1. ผิดเพราะ คนที่เป็นโรคเบาหวานเกิดจากร่างกายขาดอินสูลิน
ข้อ 4.ผิดเพราะ การฉีดอินสูลิน ฉีดให้คนที่เป็นโรคเบาหวานเพื่อควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือดให้ต่ำลง
|
อินซูลิน เป็นฮอร์โมนที่ตับอ่อนสร้างขึ้น และมีหน้าที่สำคัญคือนำน้ำตาลในเลือดไปยังเนื้อเยื่อต่างๆของร่างกายเพื่อสร้างเป็นพลังงาน แต่สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้เป็นพลังงานได้เต็มที่ เนื่องจากขาดฮอร์โมนอินซูลินมีผลทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
3 |
|
ค. เอนไซม์ทํางานได้ภายในช่วง pH ที่จํากัด |
|
เอนไซม์ชนิดนี้เปลี่ยนแปลงระยะเวลาในการทำงานของเจลาตินอย่างเห็นได้ชัดแค่ได้ในช่วงpH7 ซึ่งแสดงว่าเอนไซม์ชนิดนี้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพในช่วงpHจำกัด
|
เอนไซม์แต่ละตัวจะมีค่า pH ที่ทำงานได้ดีที่สุด ซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงระหว่างpH 5 ถึง pH 9 ความสามารถของเอนไซม์ในการจับกับซับสเตรต และในการเร่งปฏิกิริยาอาจขึ้นอยู่กับความสมดุลของประจุของหมู่ต่างๆ ในบริเวณเร่งและบริเวณจับของเอนไซม์ รวมทั้งประจุของซับสเตรตเองด้วยที่ pH ต่ำหรือสูงเกินไปมักทำให้ประจุเปลี่ยนไปจนไม่เหมาะสมที่จะทำปฏิกิริยากัน นอกจากนี้ที่ pHสูงมากหรือต่ำมากอาจทำให้โครงสร้างของเอนไซม์เสียรูปร่างสามมิติเปลี่ยนไปจนทำงานไม่ได้
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
4 |
|
ข. ในร่างกายมนุษย์จะไม่พบโปรตีนที่มีกรดอะมิโนXและYเป็นองค์ประกอบ |
|
โปรตีนเป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วยกรดอมิโน และในกรดอะมิโนทั้งหมดจะมีกรดอะมิโนบางตัวที่ไม่สามารถสังเคราะห์ได้ เรียกกรดอะมิโนจำเป็นซึ่งคือ xและy
|
จากกรดอะมิโนทั้งหมด 20 ชนิดกรดอะมิโน 9 ชนิดไม่สามารถสังเคราะห์ได้ในร่างกายของเราและเราจำเป็นต้องนำมันเข้าไปในอาหารของเรา เหล่านี้เรียกว่า กรดอะมิโนที่จำเป็นหรือขาดไม่ได้
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
5 |
|
ข ค จ |
|
ก ผิดเพราะ จะได้ พอลีเพปไทด์ ,เตตระเพปไทด์
ง ผิดเพราะ โปรตีนก้อนกลมละล่ยได้ดีกว่า
|
ถ้าเป็นกรดอะมิโน 4 โมเลกุล ต่อเข้าด้วยกันก็จะเป็น เตตระเพปไทด์ (tetrapeptide)
โปรตีนก้อนกลม (globular protein ) เกิดจากสายพอลิเพปไทด์ม้วนพันกันและอัดแน่นเป็นก้อนกลม ละลายน้ำได้ดี
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
6 |
|
A= กลีเซอรอล
B=กรดไขมัน
C=ไขมัน หรือน้ำมัน |
|
ในปฏิกิริยาการเกิดไขมันจะใช้กลีเซอรอลเป็นแกนและจะมีกรดไขมันมาเกาะสามโมเลกุลจะได้เป็นไขมันและในปฏิกิริยานั้นจะได้น้ำสามโมเลกุล
|
ปฏิกิริยาการเกิดไขมันเป็นปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ (esterification) นั่นเอง เช่น ปฏิกิริยาการเกิดไตรกลีเซอไรด์จากกลีเซอรอล 1 โมเลกุลรวมกับกรดไขมัน 3 โมเลกุล จะได้ไตรกลีเซอไรด์ (หรือไตรเอซิลกลีเซอรอล) 1 โมเลกุล
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
7 |
|
ง |
|
การทดสอบประสิทธิภาพน้ำมันด้วยไอโอดีนยิ่งถ้าใช้หยดไอโอดีนมากแสดงว่าน้ำมันชนิดนั้นไม่อิ่มตัวมาก น้ำมันที่เหมาะแก่การใช้ไฟอ่อนควรเป็นน้ำมันไม่อิ่มตัว น้ำมันที่ทำให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือดมากที่สุดคือน้ำมันที่อิ่มตัวมาก
|
ไขมันและน้ำมันที่ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัว จะทำปฏิกิริยากับสารละลายโบรมีนหรือไอโอดีน(I2) เกิดปฏิกิริยาการรวมตัวตรงบริเวณคาร์บอนกับคาร์บอนที่จับกันด้วยพันธะคู่ของกรดไขมันไม่อิ่มตัวในน้ำมัน ไขมันและน้ำมันชนิดใด สามารถฟอกจางสีของสารละลายโบรมีน (Br2) หรือ ไอโอดีน (I2) มาก แสดงว่า ไขมันและน้ำมันนั้นประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวปริมาณมาก
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
8 |
|
จ |
|
เพราะน้ำมันที่อิ่มตัวมากจะแข็งตัว ไม่ค่อยเหม็นหืน
|
กรดไขมันอิ่มตัว หรือไขมันไม่ดี เป็นกรดไขมันที่มีพันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอนกับคาร์บอนยึดเหนี่ยวด้วยพันธะเดี่ยวทั้งหมด มีคุณสมบัติแข็งตัวง่าย มีจุดหลอมเหลวสูง ไม่เหม็นหืน
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
9 |
|
จ. น้ำมันมะกอกประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากกว่าน้ำมันหมูหรือไขวัว |
|
น้ำมันมะกอกประกอบด้วยโอเลอิกมากซึ่งเป็นไขมันไม่อิ่มตัวและมากกว่าไขมันหมูและวัว
|
กรดโอเลอิก เป็นกรดไขมันที่มีสูตรเคมีคือ C₁₈H₃₄O₂ อยู่ในกลุ่มไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยวโอเมกา-9 เป็นไขมันที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น แต่ในเชิงพาณิชย์อาจมีสีเหลือง คำว่า "โอเลอิก" มาจากน้ำมันมะกอก
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
10 |
|
ก. ไข่ขาว , น้ำตาลทราย , เอทิลแอซิเตต |
|
x เป็นการทดสอบหาโปรตีน
y เป็นการทดสอบหาน้ำตาล
|
การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง
ส่วนการทดสอบน้ำตาล ( เฉพาะน้ำตาล โมเลกุลเดี่ยว ) เช่น น้ำตาลกลูโคส, ฟรักโทส, กาแลกโทส เมื่อใช้สารละลายเบเนดิกต์ซึ่งเป็นสีฟ้าหยดลงไป แล้วนำไปต้มในน้ำเดือด ถ้ามีน้ำตาลกลูโคสจะเปลี่ยนเป็นตะกอนสีแดงอิฐ (หรือสีส้มแดง)
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
11 |
|
ข. ข้อ 1 และ ข้อ 2 ถูก |
|
ข้อ 3 ผิดเพราะต้องประกอบด้วยพันธะ บีต้า 1-4 glycosidic linkage
|
เซลลูโลส (cellulose) เป็นคาร์โบไฮเดรท (carbohydrate) ประเภทพอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ประเภท ฮอโมพอลิแซ็กคาไรด์ (homopolysaccharide) ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูง ประกอบด้วยน้ำตาลกลูโคส (glucose) มาต่อกันด้วยพันธะไกลโคไซด์ (glycosidic bond) ที่ตำแหน่งบีต้า-1,4 (b-1,4) เป็นสายยาวมากกว่า 2,000โมเลกุล
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
12 |
|
ค. มีข้อถูก 3 ข้อ |
|
4 ผิดเพราะ ไขมันจะอยู่ในหลอดน้ำเหลือง
|
ไตรกลีเซอไรด์ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่ภายในเซลล์เยื่อบุผนังลำไส้เล็ก จะถูกขนย้ายไปตามท่อน้ำเหลือง ในรูปของอิมัลชัน เรียกว่า “chyle” หรือไคโลไมครอน (chylomicron)
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
13 |
|
|
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
14 |
|
4 ชนิด |
|
เพราะสารนี้ประกอบด้วยพันธะเพปไทด์สามตำแหน่ง
|
ถ้าเป็นกรดอะมิโน 4 โมเลกุล ต่อเข้าด้วยกันก็จะเป็น เตตระเพปไทด์ (tetrapeptide)
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
15 |
|
ข. มีข้อถูก 2 ข้อ |
|
2 ถูกเพราะนิวคลีโอไทด์ 2 หน่วยถูกเชื่อมกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ที่ตำแหน่งของหมู่คาร์บอกซิลและหมู่ฟอสเฟต
4ถูกเพราะพันธะเอสเทอร์เชื่อมกรดไขมันและกลีเซอรอล เข้าด้วยกันที่หมู่คาร์บอกซิลและหมู่ไฮดรอกซิล
|
กรดนิวคลีอิก (nucleic acid) เป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ ( phosphodiester bond ) โดยที่หมู่ของฟอสเฟตที่เป็นส่วนประกอบของพันธะจะเชื่อมโยงระหว่างหมู่ ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 5' ของนิวคลีโอไทด์โมเลกุลหนึ่งกับหมู่ไฮดรอกซิลที่ตำแหน่ง 3' ในโมเลกุลถัดไป
ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ (esterification) นั่นเอง เช่น ปฏิกิริยาการเกิดไตรกลีเซอไรด์จากกลีเซอรอล 1 โมเลกุลรวมกับกรดไขมัน 3 โมเลกุล จะได้ไตรกลีเซอไรด์
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
16 |
|
ง. นมถั่วเหลือง กลูโคส น้ำตาลทราย |
|
xเป็นการทดสอบโปรตีน
yเป็นการทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
z เป็นการทดสอบแป้ง
|
-การทดสอบโปรตีนสามารถทดสอบได้ด้วยปฏิกิริยาไบยูเรต โดยให้โปรตีนทำปฏิกิริยากับสารละลาย CuSO4ในสารละลายเบส NaOH หรือ KOH จะได้สารสีน้ำเงินม่วง โดยปฏิกิริยา CuSO4ในสารละลายเบสจะทำปฏิกิริยากับองค์ประกอบย่อยของโปรตีนคือ กรดอะมิโน ได้สารสีน้ำเงินม่วง ซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่าง Cu2+กับไนโตรเจนในสารที่มีพันธะเพปไทด์ตั้งแต่ 2 พันธะขึ้นไป
-Benedict's test เป็นวิธีทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) และน้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ที่เป็นน้ำตาลรีดิวซิงทุกชนิด
-สารละลายไอโอดีน : มีสีน้าตาลเหลือง ใช้ทดสอบ : แป้ง
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
17 |
|
ก. ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว ไฮโดรคาร์บอนไม่อิ่มตัว กรดไขมันอิ่มตัว กลูโคส |
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
18 |
|
จ. W, X, Y และ Z |
|
การทดสอบด้วยเบเนดิกต์เป็นการทดสอบน้ำตาล
|
Benedict's test เป็นวิธีทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว (monosaccharide) และน้ำตาลโมเลกุลคู่ (disaccharide) ที่เป็นน้ำตาลรีดิวซิงทุกชนิด ยกเว้น น้ำตาลซูโครส (sucrose)
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
19 |
|
จ. กรดอะมิโน |
|
กรดอะมิโนสามารถเป็นได้ทั้งกรดและเบสซึ่งเป็นสมบัติของบัฟเฟอร์
|
บัฟเฟอร์ (buffer) เมื่อกรดแอมิโนละลายน้า จะอยู่ในรูปสวิตเตอร์ไอออน มีทั้งประจุบวก ของแอมมิเนียมไอออน ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นเบสอ่อน และประจุลบของคาร์บอกซิเลตไออน เป็นกรดอ่อน ท าให้เป็นสารละลายบัฟเฟอร์ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโซ่ข้างของกรดแอมิโน
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
20 |
|
2. พืชไม่สามารถใช้ ADP และ NADP+ ได้ตามปกติ |
|
ถูกปิดกั้นการทำงานของระบบแสง
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
21 |
|
2. สามารถพบลักษณะของ cell membrane แบบ phospholipid bilayer ได้ |
|
|
|
10 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
22 |
ข้อใด ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับอะไมโลสและอะไมเลส
|
จ. อะไมโลส และอะไมเลสไม่ทำปฏิกิริยากับสารละลายนินไฮดริน |
|
|
|
6 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
23 |
|
1. Glucose เป็นแหล่งพลังงานของเซลล์ |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
24 |
|
5. mRNA |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|
25 |
|
5. Glucose |
|
|
|
7 |
-.50
-.25
+.25
เต็ม
0
-35%
+30%
+35%
|